TH
|
EN
เข้าสู่ระบบ
หรือ
ลงทะเบียน
หน้าแรก
|
เมกาซีสแควร์
แฟชั่นและความงาม
ข่าวและข้อมูล
สังคม ศิลปะ และการออกแบบ
บันเทิง
อาหารและสุขภาพ
ท่องเที่ยว
บ้านสวนและสัตว์เลี้ยง
|
สแควร์ของฉัน
|
นิตยสารและไลฟ์สไตล์
Online Magazine
LifeStyle
Coming Soon
|
บัญชีของฉัน
หมวดหมู่
หมวดหมู่
กินเที่ยว
ดูดี
มีสุข
ตกแต่ง
Gadget
News
ความรัก
Hobbies
Shopping
งาน & เงิน
แม่ลูก
อื่นๆ
Sexy
บันเทิง
กุลสตรี รู้จักชีวิต
(
1
)
Tweet
Share
PAGE
1
/2
อ่านนิตยสาร หน้าคู่ แบบเต็มหน้า
เนื้อหานำมาจาก
กุลสตรี เล่ม 993
ฉบับล่าสุด
KULLASTREE เล่ม 1032
Preview
2
KEEP
1
LOVES
COMMENT
RECOMMENDED CONTENT
1
ศิริน-พลอย หอวัง
0
เตรียมพร้อมก่อนไปปาร์ตี้กันดีกว่า
0
ส่องวิถีกิน-ดื่ม-เที่ยว-เดิน แบบคนญี่ปุ่น
0
ท่วงทำนองชีวิตของพลอย เฌอมาลย์
0
ก้าวใหม่กับการพิสูจน์ตัวเองของ หญิง-รฐา โพธิ์งาม
0
เปิดตา เปิดใจ ให้หนังพาไปกับสองหนุ่ม บอล-ทายาท -ยอด-พิศาล
0
สาว ๆ ทั้งหลายเตรียมอัพเดตเทรนด์ความงามรับฤดูกาลใหม่กันหรือยัง ฉบับนี่หยิบเอาเทรนด์ความงามจากนิวยอร์กแฟชั่นวีค Fall/Winter มาฝาก
0
เมื่อไม่อาจวางใจผักที่วางขายได้เต็มร้อย
0
ANTI-AGING TRICKS FOR YOUR HAIR ดูแลเส้นผมให้เปล่งประกายอ่อนเยาว์
0
กรมส่งเสริมการส่งออกได้เดินหน้าผลักดัน และพัฒนาอุตสาหกรรมสินค้าไลฟ์สไตล์ไทย
0
แอลคาร์นิทีนปลอม ได้ผอมพร้อมไตพัง
0
ก้าวใหม่กับการพิสูจน์ตัวเองของ หญิง-รฐา โพธิ์งาม
0
“Colette Croc Clutch”
0
5 นางเอกเลือดใหม่จากละคร The Sixth Sense สื่อรัก สัมผัสหัวใจ
0
อยากลองหันมาสวมใส่ผ้าไหมไทยดูบ้างนะคะ แต่ยังไม่ค่อยมีความรู้เรื่องการเลือกเนื้อผ้า ขอคำแนะนำหน่อยค่ะ
0
ความงามครั้งสุดท้าย ด้วยจิตใจอาสา
กุลสตรี
S
2585
2849
2559
Tags
โรค...ไม่ชอบรูปร่างหน้าตาตัวเอง จริงหรือ...การที่คนเราไม่ชอบรูปร่างหน้าตาของตัวเองถือเป็นโรคด้วยหรือ? ถ้าเป็นเล็กๆ น้อยๆ ก็ไม่นับเป็นโรคหรอก ตัดหรือแก้ไขรูปร่างหน้าตาตัวเองซ้ำๆ ทั้งๆ ที่ก็ไม่ได้น่าเกลียดอะไร แต่ก็ไม่พอใจสักที ทำให้ยิ่งเครียดหรือเศร้ายิ่งขึ้น บางคนถึงขั้น อยากตาย แบบนี้ถือว่าเป็นโรค ทางจิตเวชเรียกโรคนี้ว่า Body Dysmorphic Disorder หรือเรียกว่า Body Dysmorphia ก็ได้ โรคนี้เป็นภาวะที่ผู้ป่วยมีความคิดหมกมุ่น กับรูปลักษณ์ของตนเอง คิดไปเองว่าน่าเกลียด ไม่น่าดู ซึ่งจริงๆ แล้ว ใครๆ ก็บอกว่าปกติ หรือผิดปกติเล็กน้อย แต่เขาไม่เชื่อ คิดว่าเป็น เรื่องใหญ่ มักมีความกังวลมาก หมกมุ่นคิด ซ้ำๆ จนกลายเป็นระแวงว่าคนอื่นๆ จะ ไม่ชอบเขา รังเกียจเขา ทำให้เขาสูญเสียโอกาส และความมั่นใจมาก บางคนถึงขั้นหลีกหนี สังคมและระแวงผู้คน ไม่มีความสุขในชีวิตเลย อาการเด่นชัดอย่างหนึ่งก็คือ เขาจะชอบ ส่องกระจกมาก ส่องบ่อยๆ ครั้งละนานๆ และ ไม่มีความสุขเลย เพราะในขณะส่องกระจก เขาก็จะพยายามหาคำยืนยันว่ารูปร่างหน้าตา เขาไม่น่าดูจริงๆ ใครบอกอย่างไรก็ไม่เชื่อ แล้วเขาก็จะแต่งตัวแต่งหน้าจัดขึ้นเพื่อพราง ใบหน้า หลีกเลี่ยงสังคมเพราะอาย ไม่อยากไป ทำงานหรือเข้าสังคม ทำให้มีความทุกข์ใจมาก พวกหลงรักตัวเอง Narcissistic Personality มักต่างจากคนไข้พวกนี้ เพราะเขาจะส่องกระจกนานๆ แต่เขาจะมอง ตัวเองว่าหล่อ สวย ไม่มีใครสู้เขาได้ แม้ชีวิต จริงๆ อาจเป็นคนหน้าตาปกติก็ตาม เขาจะ มีความสุขจากการส่องกระจก โรคนี้พบได้ทั้งชายและหญิง แต่พบใน หญิงได้มากกว่า มักพบในผู้หญิงวัย 30 ปี ขึ้นไป มักกังวลเรื่องใบหน้า โดยเฉพาะ ขนาดของจมูก คาง หู รองลงมาก็เรื่องผม หน้าอก อวัยวะเพศ ส่วนในผู้ชายจะกังวลเกี่ยวกับรูปร่าง ที่อยากให้มีกล้ามเนื้อใหญ่ขึ้น ตัวโตขึ้น (Muscle Dysmorphia) เพราะเขารู้สึกว่า ตัวเล็ก กล้ามเนื้อไม่สวย ไม่ใหญ่พอ ไม่มี ความพอใจ ไม่มีความสุข ทั้งที่ความจริงเขาก็ ตัวโตแล้ว หรือมีกล้ามเนื้อสวยแล้วก็ตาม บางคนเข้ายิมเล่นกล้ามจนโต แต่ก็ ไม่พอใจตัวเอง เขาเริ่มเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม การกิน บางรายใช้สเตียรอยด์เพื่อให้ได้ กล้ามเนื้อใหญ่ขึ้น แต่แม้จะได้กล้ามเนื้อใหญ่ แค่ไหนก็ไม่เคยพอใจอยู่ดี ในผู้หญิงที่เป็นโรคนี้ มักจะไปปรึกษา และรักษากับแพทย์ผิวหนัง ทันตแพทย์ หรือ หาหมอศัลยกรรมตกแต่งเพื่อผ่าตัดส่วนที่เขา คิดว่าไม่สวย แต่แม้จะทำอย่างไรก็ไม่พอใจ อยู่ดี บางรายทำผ่าตัดซ้ำๆ ทำให้ได้รับผล ข้างเคียงหรือผลลัพธ์ออกมาน่าเกลียดมากขึ้น ก็มีก็มี สิ่งที่เขานิยมทำการผ่าตัด เช่น Face Lift ตัด-เสริมจมูก เสริมเต้านม ผ่าตัดเปลือก ตา ผ่าตัดใบหู ผ่าตัดกราม-ฟัน ผ่าตัดเอา ไขมันหน้าท้องออก รวมทั้งการฉีดยาหรือใช้ เลเซอร์หลายๆ อย่างซ้ำๆ แต่แม้จะทำหลายๆ อย่างหลายๆ ครั้ง ก็ยังไม่พอใจอยู่ดี และไม่มีความสุข พวกนี้มักไม่มาพบจิตแพทย์หรอก เพราะเขาไม่คิดว่าเขามีปัญหาทางจิต แต่เขา คิดว่าปัญหาของเขาคือ เนื้อหาจาก นิตยสาร กุลสตรี เล่ม 993 หน้า 80 เมกาซีสแควร์คัดสรรเนื้อหาบทความที่น่าสนใจ จากนิตยสารและแหล่งข่าวชั้นนำ
120
You will be logged out of Megazy shortly due to inactivity. If your are still working, you may extend your session for another 60 minutes